ค้นข้อมูล
Home Thailand Data ข้อมูลจังหวัด สถานพยาบาล สถานศึกษา แหล่งท่องเที่ยว ร้านค้า บริษัท ศาสนสถาน ข้อมูลภาครัฐ Login

Forest

ศรีสะเกษ
Si Sa Ket


คำขวัญ ศรีสะเกษ : หลวงพ่อโตคู่บ้าน ถิ่นฐานปราสาทขอม ข้าว หอม กระเทียมดี มีสวนสมเด็จ เขตดงลำดวน หลากล้วนวัฒนธรรม เลิศล้ำสามัคคี
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พื้นที่8839.976 ตารางกิโลเมตร
จำนวนประชากร 393356 ครัวเรือน
ประชากรชาย 734405
ประชากรหญิง 738454
ประชากรรวม 734405
Si Sa Ket ก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา
ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดศรีสะเกษ ก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา ไม่ปรากฎหลักฐานแน่นอน มีการจด บันทึกไว้พอสังเขป ส่วนมากได้จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุ เล่าต่อๆ กันมา เอาความแน่นอนไม่ได้นัก นักประวัติศาสตร์ และนักโบราณคดีสันนิษฐานว่า พื้นที่ภาคอีสานในปัจจุบันเคย เป็นที่อยู่ของพวกละว้าและลาว มีแว่นแคว้นอาณาเขตปกครอง เรียกว่า “อาณาจักรฟูนัน”

ประมาณปี พ.ศ.1100 พวกละว้าที่เคยมีอำนาจปกครอง อาณาจักรฟูนันเสื่อมอำนาจลง ขอมเข้ามามีอำนาจแทนและตั้ง อาณาจักรเจนละหรืออิศานปุระขึ้น พวกละว้าถอยร่นไปทาง เหนือ ปล่อยให้พื้นที่ภาคอีสานรกร้างว่างเปล่าเป็นจำนวนมาก เขตพื้นที่จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดใกล้เคียงจึงถูกทิ้งให้เป็น ที่รกร้างและเป็นป่าดง ขอมได้แบ่งการปกครองเป็น 3 ภาค โดยมีศูนย์การปกครองอยู่ที่ละโว้(ลพบุรี) พิมาย(นครราชสีมา) และสกลนคร มีฐานะเป็นเมืองประเทศราช ขึ้นตรงต่อศูนย์ กลางการปกครองใหญ่ที่นครวัด

ในยุคที่ขอมเรืองอำนาจ ศรีสะเกษน่าจะเป็นดินแดนแห่ง หนึ่งที่ขอมใช้เป็นเส้นทางไปมาระหว่างเมืองประเทศราชดัง กล่าวแล้ว เพราะปรากฎโบราณสถานโบราณวัตถุของขอมซึ่งกรม ศิลปากรสำรวจในจังหวัดศรีสะเกษเมื่อ พ.ศ.2512 จำนวน 15 แห่ง ไม่รวมเขาพระวิหารซึ่งเป็นเทวะสถานของขอมที่ยิ่ง ใหญ่แห่งหนึ่ง นอกจากนี้ยังมีปราสาทหินสระกำแพงใหญ่ สระกำแพงน้อย ปราสาทลุมพุก ปราสาทบ้านทามจาน(บ้านสมอ) ปราสาทเยอ ปราสาทโดนต็วล (ช่องตาเฒ่า อ.กันทรลักษ์) สันนิษฐานว่าโบราณสถานเหล่านี้มีอายุประมาณ 1,000 ปีเศษ มีอยู่ตามท้องที่อำเภอต่างๆ ของจังหวัดศรีสะเกษ ขอมคงสร้างขึ้น เพื่อเป็นที่พักและประกอบพิธีทางศาสนาระหว่างเดินทางจาก นครวัด นครธมข้ามเทือกเขาพนมดงรักษ์มาสู่ศูนย์กลางการ ปกครองภาคอีสานทั้ง 3 เมืองดังกล่าวแล้ว

เมื่อขอมเสื่อมอำนาจลง ไทยเริ่มมีอำนาจครอบครองดินแดน เหล่านี้ ขณะเดียวกันจังหวัดศรีสะเกษมีสภาพเป็นป่าดงอยู่นาน เพราะแม้แต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางก็มิได้บันทึกกล่าวถึง จังหวัดศรีสะเกษในเอกสารใด เพิ่งจะได้มีการบันทึกหลัก ฐานในพงศาวดารกล่าวถึงเมืองสุรินทร์ด้วย

สมัยกรุงศรีอยุธยา
ในสมัยกรุงศรีอยุธยาอาณาจักรไทยกว้างขวางมาก มีชาว บ้านป่าซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย ( MINORITY TRIBE )อาศัยอยู่แถบ เมืองอัตปือแสนแป แคว้นจำปาสักฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวปัจจุบัน ชนพวกนี้เรียก ตัวเองว่า “ข่า” ส่วย” “กวย” หรือ “กุย” อยู่ในดินแดนของราช อาณาจักรไทย โดยสมบูรณ์ (เพิ่งเสียให้ฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ.2436 หรือ ร.ศ.112) พากนี้มีความรู้ความสามารถในการจับช้างป่ามา เลี้ยงไว้ใช้งาน ชาวส่วยหรือชาวกวยได้อพยพย้ายที่ทำมาหากิน ข้ามมาฝั่งขวาแม่น้ำโขง เนื่องจากชาวเมืองศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์) ได้เข้าไปตั้งถิ่นฐานแย่งที่ทำมาหากิน

ในปี พ.ศ.2260 ชาวส่วยได้อพยพแยกออกเป็นหลายพวก ด้วยกัน แต่ละพวกมีหัวหน้าควบคุมมา เช่น เซียงปุม เซียงสี เซียงสง ตากะจะและเซียงขัน เซียงฆะ เซียงไชย หัวหน้าแต่ ละคนก็ได้หาสมัครพรรคพวกไปตั้งรกรากในที่ต่าง ๆ กัน เวียงปุม อยู่ที่บ้านที เซียงสีหรือตะกะอาม อยู่ที่รัตนบุรี เซียงสง อยู่บ้านเมือลีง (อำเภอจอมพระ) เซียงฆะ อยู่ที่สังขะ เวียงไชย อยู่บ้านจารพัด (อำเภอศรีขรภูมิ) ส่วนตากะจะและเซียงขัน อยู่ ที่บ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวน(บ้านดวนใหญ่ปัจจุบัน)

พวกส่วยเหล่านี้อยู่รวมกันเป็นชุมชนใหญ่ หาเลี้ยงชีพด้วย การเกษตรและหาของป่ามาบริโภคใช้สอย มีการไปมาหาสู่ติด ต่อกันระหว่างพวกส่วยอยู่เสมอ มีสภาพภูมิประเทสติดต่อเขต กัมพูชา และมีเทือกเขาพนมดงรักเป็นเส้นกันเขตแดน ป่าดง เขตนี้มีฝูงสัตว์ป่าอุดมสมบูรณ์ โขลงช้างพัง ชางพลาย ฝูงเก้ง กวาง ละมั่งและโคแดงอยู่มากมายตามทุ่งหญ้าและราวป่า เหมาะ กับการทำมาหาเลี้ยงชีพของชาวส่วยอย่างยิ่ง

ลุ พ.ศ.2302 ปีเถาะ จุลศักราช 1181 ตรงกับสมัยแผ่นดิน พระบรมราชาที่ 3 หรือพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยามรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศน์) กษัตริย์องค์สุดท้ายของกรุง ศรีอยุธยา พระยาช้างเผือกของพระองค์ได้แตกออกจากโรงช้าง ต้นในกรุงศรีอยุธยา เดินทางมาทิศตะวันออกเฉียงเหนือ โปรด ให้ทหารเอกคู่พระทัยสองพี่น้อง (เข้าใจว่าสมเด็จเจ้าพระยามหา กษัตริย์ศึก พระนามเดิมทองด้วง และกรมพระราชวังบวรมหา สุรสิงหนาท พระนามเดิมบุญมา) คุมไพร่พล 30 นาย ออกติด ตามผ่านมาแขวงพิมาย ทราบจากเจ้าเมืองพิมายว่า ในดงริมเขา พนมดงรักมีพวกส่วยชำนาญใชการจับช้าง เลี้ยงช้าง สองพี่น้อง กับไพร่พล จึงได้ติดตามสองพี่น้องไปเซียงสีไปที่บ้านกุดหวาย (อำเภอรัตนบุรี) เซียงสีจึงได้พาสองพี่น้องและไพร่พลไปตามหา เซียงสง ที่บ้านเมืองลีง เซียงปุ่มที่บ้านเมืองที เซียงไชยที่บ้าน กุดปะไท ตากะจะและเซียงขัน ที่บ้านโคกลำดวน เซียฆะที่บ้าน อัจจะปะนึง (เขตอำเภอสังขะ) ทุกคนร่วมเดินทางติดตาม พระยาช้างเผือก สองพี่น้องและหัวหน้าป่าดงทั้งหมด ได้ติดตาม ล้อมจับพระยาช้างเผือกได้ที่บ้านหนองโชก ได้คืนมาและนำส่ง ถึงกรุงศรีอยุธยา ด้วยความดีความชอบในครั้งนี้สมเด็จพระเจ้า อยู่หัวสริยามรินทร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งให้หัวหน้า บ้านป่าดงมีบรรดาศักด์ทั้งหมด ตากะจะหัวหน้าหมู่บ้านโคกลำ- ดวน ได้เป็นหลวงแก้วสุวรรณเซียงขันได้เป็นหลวงปราบอยู่กับ ตากะจะ ต่อมาหัวหน้าหมู่บ้านป่าดงทั้ง 5 ได้พากันไปเฝ้าสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว ณ กรุงศรีอยุธยา โดยนำสิ่งของไปทูลเกล้าฯ ถวาย คือ ช้าง ม้า แก่นสน ยางสน ปีกนก นกระมาด (นอแรด) งาช้าง ขี้ผึ้ง น้ำผึ้ง เป็นการส่งส่วยตามพระราชประเพณี สมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวพระที่นั่งสุริยามรินทร์ ทรงพิจารณาเห็นความดีความชอบ เมื่อครั้งได้ช่วยเหลือจับพระยาช้างเผือก และเมื่อหัวหน้า หมู่บ้านได้นำสิ่งของไปทูลเกล้าฯ ถวาย จึงทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ แต่งตั้งบรรดาศักดิ์ให้หัวหน้าหมู่บ้านสูงขึ้นทุกคน

ในปี พ.ศ.2302 นี้เอง หลวงแก้วสุวรรณ(ตากะจะ) บ้านโคก ลำดวนได้บรรดาศักดิ์เป็นเป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน มีพระบรมราชโองการยกบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวน ซึ่งเดิม เรียกว่า “เมืองศรีนครลำดวน” ขึ้นเป็นเมืองขุขันธ์แปลว่า “เมืองป่าดง” ให้พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนเป็นเจ้าเมืองปกครอง

สมัยกรุงธนบุรี
เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าในปี พ.ศ.2310 แล้ว สมเด็จ พระเจ้ากรุงธนบุรี พระเจ้าตากสินมหาราช ได้ทรงกอบกู้อิสรภาพ และทรงตั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี

พ.ศ.2321 ปีจอ จุลศักราช 1140 กรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์)เป็นกบฎต่อไทย สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้โปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (พระบามสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กับเจ้าพระยาสุรสียห์เป็นแม่ทัพยกขึ้นไปทางเมืองพิมายแม่ทัพสั่งให้เจ้าเมืองพิมายแต่งข้าหลวงออกมาเกณฑ์กำลังเมืองประทายสมันต์ (จังหวัดสุรินทร์) เมืองสังฆะ เมืองขุขันธ์ เมืองรัตนบุรี เป็นทัพบกยกไปตีเมืองเวียงจันทน์ เมืองจำปาศักดิ์ ได้ชัยชนะยอมขึ้นต่อไทยทั้งสองเมือง กองทัพไทยเข้าเมืองเวียงจันทน์ ได้อัญเชิญพระแก้วมรกต และพระบางพร้อมคุมตัวนครจำปาศักดิ์ไชยกุมารกลับกรุงธนบุรีในการศึกครั้งนี้เมื่อเดินทางกลับ หลวงปราบ(เซียงขัน) ทหารเอกในกองทัพ ได้หญิงม่ายชาวลาวคนหนึ่งกลับมาเป็นภรรยา มีบุตรชายติดตามมาด้วยชื่อท้าวบุญจันทน์


พ.ศ.2324 เมืองเขมรเกิดจราจล สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกกับพระยาสุรสีห์ ได้รับพระบรมราชโองการให้เป็นแม่ทัพยกกองทัพไปปราบจราจลครั้งนี้ โดยเกณฑ์กำลังของเมืองปะทายสมันต์ เมืองขุขันธ์ และเมืองสังฆะ สมทบกับกองทัพหลวงออกไปปราบปราม กองทัพไทยยกไปตีเมืองเสียมราฐ กำพงสวาย บรรทายเพชร บรรทายมาศ
และเมืองรูงตำแรย์(ถ้ำช้าง) เมืองเหล่านี้ยอมแพ้ ขอขึ้นเป็นขอบขัณฑสีมา เสร็จแล้วยกทัพกลับกรุงธนบุรี


เมื่อเสร็จสงครามเวียงจันทน์ และเมืองเขมรแล้ว ได้ปูนบำเหน็จให้แก่เจ้าเมืองปะทายสมันต์ เมืองขุขันธ์ และเมืองสังฆะ เลื่อนบรรดาศักดิ์ให้เป็นพระยาให้พระยาทั้งสามเมือง เจ้าเมืองขุขันธ์ ได้บรรดาศักดิ์ใหม่ จากพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน เป็นพระยาขุขันธ์ภักดีในปีเดียวกันนั้นเอง พระยาขุขันธ์ภักดี(ตากะจะ) ถึงแก่อนิจกรรม
จึงโปรดให้หลวงปราบ (เซียงขัน) ขึ้นเป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน เจ้าเมืองขุขันธ์ ต่อมาเมืองขุขันธ์ที่บ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวนกันดารน้ำ พระยาไกรภักดีฯ จึงอพยพเมืองย้ายมาอยู่บ้านแตระ (แตระ)ตำบลห้วยเหนือ ที่ตั้งอำเภอขุขันธ์ในปัจจุบัน

สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ลุ พ.ศ.2325 ปีขาล จุลศักราช 1144 พระบามสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ

พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน(เซียงขัน) ได้บรรดาสักดิ์เป็นพระยาขุขันธ์ภักดี ได้มีใบบอกกราบบังคมทูลข้อตั้งท้าวบุญจันทร์ เป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน ผู้ช่วยเจ้าเมือง อยู่มาวันหนึ่ง พระยาขุขันธ์ภักดี เผลอเรียกพระยาไกรภักดีฯ(บุญจันทร์) ว่า”ลูกเชลย” พระยาไกรภักดีจึงโกรธและผูกพระยาบาทภายหลังมีพ่อค้าญวน 30 คน มาซื้อโค
กระบือที่เมืองขุขันธ์ พระยาขุขันธ์ภักดีอำนวยความสะดวกและจัดที่พักให้ญวนตลอดจนให้ไพร่นำทางไปช่องโพย ให้พวกญวนนำโค กระบือไปยังเมืองพนมเปญได้สะดวก พระยาไกรภักดีฯ (บุญจันทร์) ได้กล่าวโทษมายังกรุงเทพฯ และโปรดเกล้า ให้เรียกตัวพระยาขุขันธ์ไปลงโทษและจำคุกไว้ที่กรุงเทพฯ แล้วโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระยาไกรภักดีฯ-
(บุญจันทร์) เป็นเจ้าเมืองขุขันธ์แทน

ในปี พ.ศ.2325 นี้ พระภักดีภูธรสงคราม(อุ่น) ปลัดเมืองขุขันธ์ กราบบังคมทูลขอแยกจากขุขันธ์ไปตั้งที่บ้านโนนสามขาจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านโนนสามขาขึ้นเป็นเมือง “ศรีสระเกศ” ต่อมาปี พ.ศ.2328ได้ย้ายเมืองศรีสระเกศจากบ้านโนนสามขา มาตั้ง ณ บ้านพันทาเจียงอีอยู่ในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษทุกวันนี้

พ.ศ.2342 มีโปรดเกล้าฯ ให้เกณฑ์กำลังเมืองสุรินทร์ เมืองขุขันธ์เมืองสังฆะ เมืองละ 100 รวม 300 ยกทัพไปตีพม่าซึ่งยกมาตั้งในเขตนครเชียงใหม่ กองทัพไทยมิทันไปถึง กองทัพพม่าก็ถอยกลับ จึงโปรดเกล้าฯให้กองทัพไทยยกกลับ

พ.ศ.2350 ทรงพระราชดำริว่า เมืองสุรินทร์ เมืองสังฆะ และเมืองขุขันธ์ เป็นเมืองเคยตามเสด็จพระราชดำเนินในการพระราชสงครามหลายครั้งมีความชอบมาก จึงโปรดเกล้าฯ ให้ทั้ง 3 เมือง ขึ้นตรงต่อกรุงเทพฯ มีอำนาจชำระคดีได้เอง ไม่ต้องขึ้นต่อเมืองพิมายเหมือนแต่ก่อน

พ.ศ.2369 รัชสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าอนุวงศ์ เมืองเวียงจันทน์แต่งตั้งให้เจ้าอุปราช(สีถาน) กับเจ้าราชวงศ์เมืองเวียงจันทน์คุมกองทัพบกเข้าตีเมืองรายทางเข้ามาจนถึงเมืองนครราชสีมา ฝ่ายทางเมืองจำปาศักดิ์ เจ้านครจำปาศักดิ์(เจ้าโย่) เกณฑ์กำลังยกทัพมาตีเมืองขุขันธ์จับพระไกรภักดีศรีนครลำดวน (บุญจันทร์) เจ้าเมืองขุขันธ์ กับพระภักดี
ภูธรสงคราม (มานะ) ปลัดเมืองกับพระแก้วมนตรี(ทศ)ยกกระบัตรกับกรมการได้ ฆ่าตายทั้งหมด เจ้าเมืองสังฆะ และเมืองสุรินทร์หนีได้ทัน กองทัพจำปาศักดิ์ ตั้งค่ายอยู่ที่บ้านส้มป่อย แขวงเมืองขุขันธ์ค่ายหนึ่ง และค่ายอื่น ๆสี่ค่ายกวาดต้อนครอบครัวไทยเขมรไปเมืองจำปาศักดิ์ จากนั้นมาเมืองขุขันธ์ ไม่มีข้าราชการปกครอง โปรดเกล้าฯ ให้พระยาสังฆะ ไปเป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนเจ้าเมือง ให้พระไชยเป็นพระภักดีภูธรสงครามปลัดเมือง ให้พระสะเทื้อน(นวน) เป็นพระแก้วมนตรียกกระบัตรเมือง ให้ท้ายหล้า บุตรพระยาขุขันธ์(เซียงขัน) เป็นมหาดไทยช่วยกันรักษาเมืองขุขันธ์ต่อไป จากนั้นมาได้มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งเจ้าเมืองและนามเจ้าเมืองหลายครั้ง

พ.ศ.2426 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระยาขุขันธ์(ปัญญา) เจ้าเมืองกับพระปลัด(จันลี) ได้นำช้างพังสีประหลาดหนึ่งเชือกลงมาน้อมเกล้าฯ ถวายที่กรุงเทพฯ

พ.ศ.2433 มีสารตราโปรดเกล้าฯ ให้เมืองศรีสระเกศ(ชื่อเดิม) ไปอยู่ในบังคับบัญชาของข้าหลวงใหญ่ได้โปรดให้หลวงจำนงยุทธกิจ(อิ่ม)กับขุนไผทไทยพิทักษ์(เกลื่อน) เป็นข้าหลวงเมืองศรีสระเกศ

พ.ศ.2435 โปรดเกล้าฯ ให้จัดรูปการปกครองแบบมณทลเมืองศรีสะเกศขึ้นอยู่กับเมณฑลอีสานกองบัญชาการมณฑลอยู่ที่จังหวัดอุบลราชธาณี


พ.ศ.2445 เปลี่ยนชื่อมณฑลอีสานเป็น มณฑลอุบลมีเมืองขึ้น 3 เมืองคือ อุบลราชธานี ขุขันธ์ และสุรินทร์ ไม่ปรากฎชื่อเมืองศรีสระเกศสันนิษฐานว่าเมืองศรีสระเกศถูกยุบลงเป็นอำเภอขึ้นกับเมืองขุขันธ์ซึ่งเป็นเมืองเก่ามาแต่เดิม

พ.ศ.2447 ย้ายที่ตั้งเมืองขุขันธ์ (ซึ่งอยู่ที่บ้านแตระ ตำบลห้วยเหนืออำเภอขุขันธ์ในปัจจุบัน) มาอยู่ที่ตำบลเมืองเก่า(ปัจจุบันคือตำบลเมืองเหนือในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษในปัจจุบัน) และยังคงใช้ชื่อ”เมืองขุขันธ์”ยุบเมืองขุขันธ์เดิมเป็นอำเภอห้วยเหนือ(อำเภอขุขันธ์ในปัจจุบันนี้)

พ.ศ.2459 กระทรวงมหาดไทย มีประกาศให้เปลี่ยนชื่อเมืองทุกเมืองเป็นจังหวัด เมืองขุขันธ์จึงเป็นเป็นจังหวัดขุขันธ์ เมื่อวันที่ 9พฤศจิกายน พ.ศ.2459 เปลี่ยนผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้ว่าราชการ
จังหวัด

พ.ศ.2481 มีพระราชกฤษฎีกา เปลี่ยนชื่อจังหวัดขุขันธ์ เป็นจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน

ที่ท่องเที่ยวในจังหวัด

  • ปราสาทสระกำแพงใหญ่ เขต/อำเภออุทุมพรพิสัย 
  • วัดป่ามหาเจดีย์แก้ว เขต/อำเภอขุนหาญ 
  • สวนสมเด็จศรีนครินทร์ เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 
  • บ้านขุนอำไพพาณิชย์ เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 
  • ปราสาทปรางค์กู่ เขต/อำเภอปรางค์กู่ 
  • น้ำตกภูละออ เขต/อำเภอกันทรลักษ์ 
  • อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร เขต/อำเภอกันทรลักษ์ 
  • น้ำตกสำโรงเกียรติ เขต/อำเภอขุนหาญ 
  • น้ำตกห้วยจันทร์ เขต/อำเภอขุนหาญ 
  • ปราสาทตาเล็ง เขต/อำเภอขุขันธ์ 
  • ปราสาทตำหนักไทร เขต/อำเภอขุนหาญ 
  • ศูนย์ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมบ้านเป๊าะ เขต/อำเภอบึงบูรพ์ 
  • ปราสาทบ้านสมอ เขต/อำเภอปรางค์กู่ 
  • ปราสาทสระกำแพงน้อย เขต/อำเภออุทุมพรพิสัย 
  • น้ำตกถ้ำขุนศรี เขต/อำเภอกันทรลักษ์ 
  • เขื่อนห้วยขนุน เขต/อำเภอกันทรลักษ์ 
  • ปราสาทบ้านปราสาท เขต/อำเภอห้วยทับทัน 
  • วัดมหาพุทธาราม เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 
  • สวนเงาะ ทุเรียน บ้านซำตารมย์ เขต/อำเภอกันทรลักษ์ 
  • ศูนย์แสดงพันธุ์สัตว์น้ำจังหวัดศรีสะเกษ เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 

  • ช่องอานม้า (อช.เขาพระวิหาร) มนุษย์สร้างขึ้น เขต/อำเภอ กันทรลักษ์ 
  • เขื่อนห้วยขนุน (อช.เขาพระวิหาร) มนุษย์สร้างขึ้น เขต/อำเภอ กันทรลักษ์ 
  • กลุ่มทอผ้าไหมบ้านเป๊าะ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ บึงบูรพ์ 
  • ตึกขุนอำไพพาณิชย์  วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ เมือง 
  • ปราสาทเมืองจันทร์ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ เมืองจันทร์ 
  • ปราสาทตาเล็ง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ ขุขันธ์ 
  • ภาพสลักนูนต่ำ (อช.เขาพระวิหาร) วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ กันทรลักษ์ 
  • สถูปคู่ (อช.เขาพระวิหาร) วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ กันทรลักษ์ 
  • เส้นทางเที่ยวชมสวนชิมผลไม้ศรีสะเกษ มนุษย์สร้างขึ้น เขต/อำเภอ กันทรลักษ์ 
  • น้ำตกภูละออ อุทยาน ป่าเขา เขต/อำเภอ กันทรลักษ์ 
  • น้ำตกพรหมวิหาร อุทยาน ป่าเขา เขต/อำเภอ ขุนหาญ 
  • ปราสาทหินวัดสระกำแพงใหญ่ *** วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ อุทุมพรพิสัย 
  • ปราสาทหินวัดสระกำแพงน้อย วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ อุทุมพรพิสัย 
  • ปราสาททับทัน ** วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ ห้วยทับทัน 
  • ปราสาทบ้านปราสาท วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ ห้วยทับทัน 
  • ธาตุบ้านเมืองจันทร์ ** วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ เมืองจันทร์ 
  • สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ มนุษย์สร้างขึ้น เขต/อำเภอ เมือง 
  • พระธาตุเรืองรอง ** วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ เมือง 
  • วัดมหาพุทธาราม ** วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ เมือง 
  • พระพุทธบาทภูสิงห์ * วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ ภูสิงห์ 
  • ปราสาทเยอ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ ไพรบึง 
  • บึงนกเป็ดน้ำ อุทยาน ป่าเขา เขต/อำเภอ ไพรบึง 
  • ปราสาทหินบ้านสมอ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ ปรางค์กู่ 
  • ปราสาทปรางค์กู่ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ เขต/อำเภอ ปรางค์กู่ 
  • น้ำตกสำโรงเกียรติ ** อุทยาน ป่าเขา เขต/อำเภอ ขุนหาญ 

  • [หน้าต่อไป]  [หน้าสุดท้าย
    ไปหน้าที่ | 1  2 
    วัดในจังหวัด
  • วัดหนองห้า เขต/ตำบล ศรีสะเกษ นาน้อย น่าน 
  • วัดหนองบัว เขต/ตำบล ศรีสะเกษ นาน้อย น่าน 
  • วัดนาเตา เขต/ตำบล ศรีสะเกษ นาน้อย น่าน 
  • วัดหัวเมือง เขต/ตำบล ศรีสะเกษ นาน้อย น่าน 
  • วัดหนองป่าค่า เขต/ตำบล ศรีสะเกษ นาน้อย น่าน 
  • วัดใหม่ เขต/ตำบล ศรีสะเกษ นาน้อย น่าน 
  • วัดศรีบุญเรือง เขต/ตำบล ศรีสะเกษ นาน้อย น่าน 
  • วัดสงยาง เขต/ตำบล กุง ศิลาลาด ศรีสะเกษ 
  • วัดเมืองเก่า เขต/ตำบล กุง ศิลาลาด ศรีสะเกษ 
  • วัดมะหลี่ เขต/ตำบล กุง ศิลาลาด ศรีสะเกษ 
  • วัดบ้านแต้ เขต/ตำบล กุง ศิลาลาด ศรีสะเกษ 
  • วัดบ้านเดื่อ เขต/ตำบล คลีกลิ้ง ศิลาลาด ศรีสะเกษ 
  • วัดบ้านซ่ง เขต/ตำบล กุง ศิลาลาด ศรีสะเกษ 
  • วัดบ้านเกิ้ง เขต/ตำบล กุง ศิลาลาด ศรีสะเกษ 
  • วัดโจดนาห่อม เขต/ตำบล คลีกลิ้ง ศิลาลาด ศรีสะเกษ 
  • วัดหนองจอก เขต/ตำบล หนองบัวดง ศิลาลาด ศรีสะเกษ 
  • วัดป่าศิลาลาด เขต/ตำบล กุง ศิลาลาด ศรีสะเกษ 
  • วัดบ้านเสียว เขต/ตำบล เสียว โพธิ์ศรีสุวรรณ ศรีสะเกษ 
  • วัดหนองผือ เขต/ตำบล เสียว โพธิ์ศรีสุวรรณ ศรีสะเกษ 
  • วัดบ้านอีเซ เขต/ตำบล เสียว โพธิ์ศรีสุวรรณ ศรีสะเกษ 
  • วัดบ้านหนองผือ เขต/ตำบล เสียว โพธิ์ศรีสุวรรณ ศรีสะเกษ 
  • วัดบ้านสามขา เขต/ตำบล เสียว โพธิ์ศรีสุวรรณ ศรีสะเกษ 
  • วัดบ้านโดด เขต/ตำบล โดด โพธิ์ศรีสุวรรณ ศรีสะเกษ 
  • วัดป่าโพธิ์ศรีสุวรรณ เขต/ตำบล เสียว โพธิ์ศรีสุวรรณ ศรีสะเกษ 
  • วัดพระธาตุศรีโสภณ เขต/ตำบล ผือใหญ่ โพธิ์ศรีสุวรรณ ศรีสะเกษ 
  • วัดกลางประชาสรรค์ เขต/ตำบล โดด โพธิ์ศรีสุวรรณ ศรีสะเกษ 
  • วัดป่าไผ่สามัคคี เขต/ตำบล เสียว โพธิ์ศรีสุวรรณ ศรีสะเกษ 
  • วัดบ้านเสียว เขต/ตำบล เสียว โพธิ์ศรีสุวรรณ ศรีสะเกษ 
  • วัดบ้านหัวขัว เขต/ตำบล ตำแย พยุห์ ศรีสะเกษ 
  • วัดร่องสะอาด เขต/ตำบล พรหมสวัสดิ์ พยุห์ ศรีสะเกษ 

  • More...

    ไปไหนในท้องที่ ศรีสะเกษ

    สถานพยาบาล
  • คลินิกทันตกรรม สสจ.ศรีสะเกษ
  • สถานพยาบาลเรือนจำจังหวัดศรีสะเกษ
  • รพ.ศรีสะเกษ
  • สสอ.เมืองศรีสะเกษ
  • สสจ.ศรีสะเกษ
  • รพ.นาน้อย
  • รพ.วารินชำราบ
  • รพ.เมืองจันทร์
  • รพ.ภูสิงห์
  • รพ.น้ำเกลี้ยง
  • รพ.วังหิน
  • รพ.ศรีรัตนะ
  • รพ.โนนคูณ
  • รพ.ห้วยทับทัน
  • รพ.บึงบูรพ์
  • รพ.อุทุมพรพิสัย
  • รพ.ราษีไศล
  • รพ.ขุนหาญ
  • รพ.ปรางค์กู่
  • รพ.ไพรบึง
  • รพ.ขุขันธ์ (ห้วยเหนือ)
  • รพ.กันทรลักษ์
  • รพ.กันทรารมย์
  • รพ.ยางชุมน้อย
  • รพ.ศีขรภูมิ

  • สถานศึกษา
  • โรงเรียนบ้านสร้างสะแบง 
  • โรงเรียนบ้านหนองบัว 
  • โรงเรียนนิคมสร้างตนเองห้วยคล้า 3 
  • โรงเรียนนิคมสร้างตนเองห้วยคล้า 2 
  • โรงเรียนบ้านหนองทุ่ม 
  • โรงเรียนบ้านตีกา 
  • โรงเรียนบ้านหนองสังข์ 
  • โรงเรียนบ้านไทยบวกแต้บวกเตย 
  • โรงเรียนบ้านโนนสายหนองหว้า 
  • โรงเรียนบ้านขุมคำ (สำนักงานสลากกินแบ่งสงเคราะห์) 
  • โรงเรียนบ้านหัววัวหนองนารี 
  • โรงเรียนบ้านโพนดวน 
  • โรงเรียนบ้านกะเอิน 
  • โรงเรียนอนุบาลวังหิน 
  • โรงเรียนบ้านธาตุ (สหพัฒนานุสรณ์) 
  • โรงเรียนบ้านหนองคูโนนแก้ว 
  • โรงเรียนบ้านดงยาง 
  • โรงเรียนบ้านหนองกันจอ 
  • โรงเรียนบ้านลิงไอ 
  • โรงเรียนบ้านหนองตาเชียง 
  • โรงเรียนบ้านเห็นอ้ม 
  • โรงเรียนบ้านทุ่งน้อย 
  • โรงเรียนบ้านโพนยาง 
  • โรงเรียนบ้านโนนสำโรงหนองหมากแซว 
  • โรงเรียนบ้านเจ้าทุ่ง 
  • โรงเรียนบ้านสว่าง 
  • โรงเรียนบ้านหนองนาโพธิ์ 
  • โรงเรียนบ้านโนนดู่ 
  • โรงเรียนบ้านดวนใหญ่ (ลีราษฎร์วัฒนา) 
  • โรงเรียนนครศรีลำดวนวิทยา 
  • โรงเรียนบ้านหนองคู 
  • โรงเรียนบ้านสะมัด 
  • โรงเรียนบ้านสร้างบาก 
  • โรงเรียนบ้านทุ่ง 
  • โรงเรียนดวนใหญ่วิทยา 
  • โรงเรียนหนองทุ่มศรีสำราญวิทยา 
  • โรงเรียนโพธิ์ธาตุประชาสรรค์ 
  • โรงเรียนบ้านก้อนเส้า 
  • โรงเรียนบ้านโพธิ์ (โพธิ์ทองวิทยา) 
  • โรงเรียนบ้านปลาข่อ 
  • โรงเรียนบ้านหนองปลาเข็ง กอไหล่ 
  • โรงเรียนบ้านผักขย่าใหญ่ 
  • โรงเรียนบ้านโคกสะอาด 
  • โรงเรียนบ้านม่วงเป 
  • โรงเรียนบ้านโนนดู่ 
  • โรงเรียนบ้านหนองแวง 
  • โรงเรียนบ้านหนองแวงสาขาบ้านโนนรัง 
  • โรงเรียนบ้านดินดำเหล่าเสนใต้ 
  • โรงเรียนบ้านบกแดงผักขะย่า 
  • โรงเรียนบ้านหนองกุงสนามชัย 
  • โรงเรียนบ้านโนนสมบูรณ์ 
  • โรงเรียนบ้านหนองหิน 
  • โรงเรียนบ้านโพนงาม 
  • โรงเรียนบ้านโนนสว่าง 
  • โรงเรียนบ้านหัวเหล่า 
  • โรงเรียนโนนค้อวิทยาคม 
  • โรงเรียนบ้านร่องเก้า 
  • โรงเรียนบ้านเท่อเล่อ 
  • โรงเรียนบ้านหนองสามขา 
  • โรงเรียนหนองจิกเหล่าเชือก 
  • โรงเรียนบ้านโนนคูณ 
  • โรงเรียนอนุบาลโนนคูณ (โนนค้อวิทยาคาร) 
  • โรงเรียนบ้านเหล่าฝ้าย 
  • โรงเรียนบ้านหนองตลาด 
  • โรงเรียนบ้านนาม่องนาเมือง 
  • โรงเรียนบ้านหยอด 
  • โรงเรียนบ้านเวาะวิทยาคม 
  • โรงเรียนบ้านหนองสนม 
  • โรงเรียนโคกสะอาดวิทยาคม 
  • โรงเรียนบ้านเวาะ 
  • โรงเรียนบกวิทยาคม 
  • โรงเรียนบ้านหนองมะเกลือ 
  • โรงเรียนศรีรัตนวิทยา 
  • โรงเรียนบ้านสะพุง 
  • โรงเรียนบ้านจอก (ประชาสามัคคี) 
  • โรงเรียนบ้านทุ่งสว่าง 
  • โรงเรียนบ้านโนนแก 
  • โรงเรียนบ้านหนองรุง 
  • โรงเรียนโชติพันธุ์วิทยาสามัคคี 
  • โรงเรียนบ้านหนองใหญ่-ตาไทย 
  • โรงเรียนบ้านหนองบัวทอง 
  • โรงเรียนบ้านตายู (อส.พป.32) 
  • โรงเรียนบ้านขนาด 
  • โรงเรียนบ้านสลับ 
  • โรงเรียนบ้านปุน 
  • โรงเรียนบ้านตาแบน 
  • โรงเรียนบ้านตระกาจ 
  • โรงเรียนอนุบาลศรีรัตนะ 
  • โรงเรียนบ้านศรีแก้ว 
  • โรงเรียนบ้านกระหวัน 

  • More..

    ร้านของฝาก/ที่ระลึก
  • บ้านขุนอำไพพาณิชย์ เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 
  • ประเสริฐสมัย เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 
  • กิจเตียง เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 
  • ลำดวนไหมไทย เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 
  • คุณป้า เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 
  • ขนมระฆังทอง เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 
  • เอกพระใหม่ เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 
  • สตรีจักสานกระเป๋าใบเตยตาทึง เขต/อำเภอขุขันธ์ 
  • กลุ่มถักโครเชท์ สมาคมส่งเสริม และพัฒนาอาชีพสตรีชนบทศรีสะเกษ เขต/อำเภอขุขันธ์ 
  • ชมรมไก่ย่างไม้มะดันห้วยทัน เขต/อำเภอห้วยทับทัน 
  • จักริน เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 
  • พี.เค.จำหน่ายสินค้าที่ระลึก เขต/อำเภอเมืองศรีสะเกษ 

  • บริษัท / ห้าง /ร้าน
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดสมคิดทัวร์
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดสันติรุ่งเรืองทัวร์
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดส.ศิริอินทร์ก่อสร้าง
  • บริษัท เอ็น.อี.ก๊าซโซน จำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดโกโก้ ฟาเมอร์แอนด์ รับเบอร์
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดยิ่งเจริญมอเตอร์
  • บริษัท โนบูโอ๊ะ โลจีสติก จำกัด
  • บริษัท ทีจี ซัพพลาย 2014 จำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดเอส เอส เอ็ม อิมปอร์ต เอ็กซ์ปอร์ต
  • บริษัท สินทรัพย์เกษตร ปาล์มออยล์ จำกัด
  • บริษัท น้ำฟ้า ออร์แกนิก จำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดสิริรังสรรค์ เทเลคอม
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดณัฐปภัสรทรัพย์รุ่งเรือง
  • บริษัท ผ้าหอมพันวัน จำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดอรุณพัฒน์ เอ็นจิเนียริ่ง
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดศิลาทอง 2557
  • บริษัท รัศมี มาร์เก็ตติ้ง จำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดคูณทวีคูณ
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดบุญเฉลียวรวมช่าง
  • บริษัท พีอาร์เอส 1969(ไทยแลนด์) จำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดขุนหาญไฮดรอลิค
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดพิมพ์นิรันดร์
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดเพิ่มทรัพย์ ศรีสะเกษ
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดศรีสะเกษกมลชนก
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดรุ่งนภา ก่อสร้าง
  • บริษัท ภัสสร แอนด์ วอยฟรอม จำกัด
  • บริษัท ภูมิพัฒน์ คอนแทรคเตอร์ จำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดโพธิ์พานทอง
  • บริษัท จตุรเวชการ จำกัด
  • บริษัท บรอดแบนด์ เค.ที. จำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดพงษ์นิเวศน์ มอเตอร์
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดขุนหาญกิจเจริญ 2014
  • บริษัท ทรัคแมกซ์ แอคเซสโซรี่ส์ จำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดชนนิกานต์วัสดุก่อสร้าง
  • บริษัท ชัยดำรงอินเตอร์พาร์ทแอนด์เซอร์วิส จำกัด
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดเฮียมัก 2557
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดดูโอ แพลนนิ่ง แอนด์ ออแกไนซ์
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดคูณไชย เวิร์คช้อป
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดส.ลักขณา
  • ห้างหุ้นส่วนจำกัดเชิดพงษ์พาณิชย์ก่อสร้าง

  • More..
    ศรีสะเกษ


    ไปหน้าที่ | 1